สมาคมศึกษาและพัฒนาโอเพ่นซอร์ส (OSEDA) ร่วมกับ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ขอเชิญร่วมงาน Software Freedom Day 2016 - Bangkok ในวันเสาร์ ที่ 17 - วันอาทิตย์ ที่ 18 กันยายน 2559 เวลา 09:00 - 16:00 น. ที่ สำนักบริการคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (บางเขน) โดยจะมีการจัด Workshop Zimbra Installation ในวันศุกร์ ที่ 16 กันยายน 2559 เวลา 09.00 - 16.00 น. ก่อนวันงาน Software Freedom Day 2016 เพียง 1 วันด้วย
ซอฟต์แวร์ฟรีดอมเดย์ หรือ Software Freedom Day (SFD) เป็นกิจกรรมเฉลิมฉลองให้กับ "Free Software" ที่จัดขึ้นพร้อมกันทั่วโลก ในวันเสาร์ที่สามของเดือนกันยายน ซึ่งปีนี้นับเป็นปีที่ 15 ของกิจกรรมนี้
ฟรี ซอฟต์แวร์ ที่กล่าวถึงอ้างอิง (https://www.gnu.org/philosophy/free-sw.html) ตามที่สถาบันฟรีซอฟต์แวร์กล่าว จะต้องประกอบด้วยลักษณะสำคัญของความมี “อิสระ” 4 ประการ
พวกเรากลุ่มผู้ใช้ซอฟต์แวร์เสรี จึงได้คิดที่จะร่วมกันจัดงานนี้ขึ้น เพื่อแบ่งปันความ “มีอิสระ” ให้แก่กันมากขึ้น
จำนวนผู้เข้าร่วมสัมมนา 300 คน
09.00-16.00 Tutorial Workshop - Zimbra Installation โดยคุณศิวัฒน์ ศิวะบวร X-Sidekick รับ 30 คน (ห้อง 501)
คลิกดูแผนที่เดินทางไป
สำนักบริการคอมพิวเตอร์
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (บางเขน)
วิทยากร คุณศิวัฒน์ ศิวะบวร X-Sidekick
วัน-เวลา วันศุกร์ ที่ 16 กย. 09.00 - 16.00 น.
เนื้อหา
- 1) การ setup CentOS ให้เหมาะกับการติดตั้ง Zimbra
- 1.1) การแบ่ง disk partition
- 1.2) การ setup Name Server บน CentOS
- 1.3) การ setup firewall บน CentOS
- 2) การติดตั้ง Zimbra
- 3) เทคนิคการ setup และ ดูแล Zimbra
สิ่งที่ผู้เข้าอบรมต้องเตรียมมา - เครื่อง NoteBook ที่มี memory อย่างน้อย 6 GB เพื่อลง VirtualBox
วิทยากร ศุภเกศ วงศ์คำภู (Tomz Rocks)
วัน-เวลา วันเสาร์ ที่ 17 กย. 11.00 - 16.00 น.
รายละเอียดการอบรม
1. Getting start with GIT ( lecture 1.5h )
2. Workshop
- Basics
- config
- attribute
- init
- clone
- add
- commit
- SSH Key
- Understand git repo
- The .git folder
- hashes
- HEAD
- refs
- EVERY DAY COMMANDS, TOOLS
- status
- log
- diff
- rm
- mv
- .gitignore
- commit -a
- stash
- FIXING MISTAKES
- amend
- reset
- revert
- checkout -- SomeFile.txt
- clean
- reflog
- AGILITY
- branch
- checkout
- checkout -b
- push
- pull
- DEEPER
- log
- show
- showbranch
- shortlog
- log --pretty=oneline
- log --graph
- Tags
- fetch
- MERGING
- merge
- Rebase
- resolve conflict
- ALIASES
- shorthand for commands
- with native commands
สิ่งที่ผู้เข้าอบรมต้องเตรียมมา - เครื่อง NoteBook ที่ติดตั้งโปรแกรม git
วิทยากร ดร.ชัยณรงค์ เกษามูล ภาควิชาคณิตศาสตร์และสถิติ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
วัน-เวลา วันเสาร์ ที่ 17 กย. 11.00 - 16.00 น.
รายละเอียดการอบรม
- Session I : 11.10 - 12.00
- Introduction to R and RStudio
- Session II : 13.30 - 14.50
- Basic data manipulation
- Basic data visualization
- Session III : 15.20 - 17.20
- Mini Data Science Project
สิ่งที่ผู้เข้าอบรมต้องเตรียมมา - เครื่อง NoteBook ที่ติดตั้งโปรแกรม R
วิทยากร รศ.ดร.สุณี รักษาเกียรติศักดิ์ สมาคมศูนย์วิชาการไทยออสเตรเลียhttp://www.tatsc.or.th/
วัน-เวลา วันอาทิตย์ ที่ 18 กย. 13.00 - 16.00 น.
รายละเอียดกิจกรรม
- 13:15 - 14:15
- แนวคิดและหลักการของการวิเคราะห์ big data ด้วย Hadoop และ Pentaho-Hadoop (Pentaho Data Science Pack) ติดตั้ง Oracle Virtual Box และ Image สำหรับปฏิบัติการ
- 14:15 - 14:30
- พัก
- 14:30 - 15.45
- วิเคราะห์ข้อมูลตัวอย่าง Web log ด้วย Pentaho-Hadoop
- 15:45 - 16.00
- สรุปการอบรม และ ตอบคำถามผู้เข้าอบรม
สิ่งที่ผู้เข้าอบรมต้องเตรียมมา - เครื่อง NoteBook ที่มี memory อย่างน้อย 8 GB เพื่อลง VirtualBox
วิทยากร คุณเจษฎา มาลัยศิริรัตน์ และอภิรัฐ พรมญาณ Cluster Kit
วัน-เวลาวันอาทิตย์ ที่ 18 กย. 13.00- 16.00 น.
Outline
- Storage Introduction
- Traditional Storage - Int /Ext /Network Storage
- Software-Defined Storage - Object Storage
- Ceph Storage
Ceph Introduction
- Ceph Architecture
- Ceph component
- CRUSH Algorithm
Communicate Ceph
- Block Storage (SAN)
- File System (NAS)
- Object Storage (API)
- Ceph Storage : Quick Installation
- Hardware Requirement
- Workshop : Install Ceph Storage for Object Storage and Block Storage
- Using Ceph
- Rados Block Device (RBD)
- Using Object Storage
สิ่งที่ผู้เข้าอบรมต้องเตรียมมา - เครื่อง NoteBook ที่มี memory อย่างน้อย 6 GB เพื่อลง VirtualBox
We have 120 guests and no members online